บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณืวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
ผู้สอน อ. จินตนา สุขสำราญ
วันที่ 25 พฤศจิกายน 2557 กลุ่ม 103
เวลา 8:30-12:20 น.
อาจารย์ถามเกี่ยวกับแผนการสอน ว่าเพื่อนไม่เข้าใจตรงไหนบ้าง และอาจารย์ก็ได้ให้คำแนะนำ
อาจารย์ได้ให้นักศึกษาทุกคนออกมานำเสนอสื่อของตนเองอีกครั้ง เพื่อที่จะจัดหมวดหมู่ของสื่อ ดังนี้
- เรื่องของเสียง : เกิดการกระทบกันของวัตถุ
- เรื่องแรงโน้มถ่วง : ทำให้วัตถุกลายภาพมีน้ำหนัก
- เรื่องของอากาศ ; อากาศอยู่รอบๆตัวเราเสมอ อากาศทำให้เกิดเสียง อากาศทำให้วัตถุบ้างอย่างตกลงพื้นดินช้า
- เรื่องของน้ำ ; ทำให้มีแรงดัน แรงลอยตัว น้ำเกิดการซึมเข้าไปทุกส่วนของสิ่งมีชีวิต
- เรื่องของแสง : ทำให้เกิดเงา
- นำเสนอโทรทัศน์ครู
- เรื่อง ไฟฟ้าและพันธุ์พืช Miss Jirasaya Sattang
สรุป: เป็นการสอนเด็กเรื่องการเจริญเติบโตของพืช โดยใช้สื่อการเรียนรู้นอกห้องเรียน และให้นักเรียนสังเกตการเจริญเติบโตของพืช จากนั้นให้เด็ก ทดลองเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ เรื่องไฟฟ้าและพันธุ์พืช ในการทดลองเด็กจะเกิดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
2. เรื่อง การละลายของสาร Miss Babjamas Boriboon
3. เรื่อง จุดประกายนักวิทยาศาสตร์น้อย Miss Chonticha Pongkom
4. เรื่อง ภาชนะจากเส้นใยธรรมชาติ Miss Tanyasiri Juntanan
5. เรื่อง สอนเด็กอย่างไรให้มีจิตวิทยาศาสตร์ Miss Pichapa Supaka
3. เรื่อง จุดประกายนักวิทยาศาสตร์น้อย Miss Chonticha Pongkom
4. เรื่อง ภาชนะจากเส้นใยธรรมชาติ Miss Tanyasiri Juntanan
5. เรื่อง สอนเด็กอย่างไรให้มีจิตวิทยาศาสตร์ Miss Pichapa Supaka
- นำเสนอวิจัย
- เรื่อง กระบวนการส่งเสริมแก้ปัญหาของเด็กปฐมวัยโดยใช้กิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดคอนสตรัคติวัสต์
- เรื่อง ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติที่มีต่อทักษะพื้นฐานวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
- เรื่อง การพัฒนาทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยโดยใช้กิจกรรมการเรียนแบบต่อภาพ
กิจกรรม " หวานเย็น
- อุปกรณ์ในการทำ
- น้ำหวาน
- น้ำเปล่า
- น้ำแข็ง
- เกลือเม็ด
- ยางรัดแกง
- ถุงพลาสติก
- กรวย
- ที่ตัก
- หม้อ
- วิธีการทำ
- ผสมน้ำกับน้ำหวานให้เข้ากันในปริมาณที่พอดี
- นำกรวยมาใส่ในถุง
- ตักน้ำหวานใส่ประมาณครึ่งถุง
- มัดถุงให้เรียนร้อย
- นำมาใส่ไว้ในหม้อ
- และนำน้ำแข็งมาเทใส่ในหม้อ
- ใส่เกลือลงไปในปริมาณที่พอเหมาะ
- ปิดฝาหม้อและหมุนไปมาจนกว่าน้ำจะแข็งตัว
ภาพกิจกรรม
- สรุป กิจกรรมหวานเย็น
เป็นการเปลี่ยนสถานะของแข็ง โดยการใส่เกลือผสมน้ำแข็ง ทำให้น้ำแข็งมีอุณหภูมิลดต่ำลงหรือต่ำกว่าจุดเยือกแข็ง เพราะเกลือจะไปดูดความร้อนจากน้ำแข็งเพื่อให้ตัวละลาย เมื่อน้ำแข็งมีอุณหภูมิต่ำกว่าจุดเยือกแข็งที่จะส่งให้ถุงน้ำหวานที่เอาลงไปแช่ในหม้อที่ผสมน้ำแข็งกับเกลือเปลี่ยนสถานะจากของเหลวเป็นของแข็ง
- การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้
จากที่ได้ทำกิจกรรมในวันนี้ ทำให้เข้าใจถึงเรื่องวิทยาศาสตร์ในการเปลี่ยนแปลงสถานะจากของเหลลวเป็นของแข็ง ซึ้งเราสามารถนำไปสอนเด็กได้ในเรื่องของวิทยาศาสตร์ และเป็นกิจกรรมที่เราสามารถนำทำร่วมกันทั้งเด็กและครู
- การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้
จากที่ได้ทำกิจกรรมในวันนี้ ทำให้เข้าใจถึงเรื่องวิทยาศาสตร์ในการเปลี่ยนแปลงสถานะจากของเหลลวเป็นของแข็ง ซึ้งเราสามารถนำไปสอนเด็กได้ในเรื่องของวิทยาศาสตร์ และเป็นกิจกรรมที่เราสามารถนำทำร่วมกันทั้งเด็กและครู
- ประเมิน ( Evaluate)
- ประเมินตนเอง แต่งกายเรียบร้อย ตั้งใจทำกิจกรรมกับเพื่อนได้ดี และรู้สึกชอบกิจกรรมนี้เพราะสอนกี่ยวกับวิทยาศาสตร์
- ประเมินเพื่อน
เพื่อนๆ ทุกคนช่วยกันทำกิจกรรมกันเต็มที่ และเพื่อนบางคนก็ช่วยลงไปเอาน้ำแข็งเพื่อมาทำหวานเย็น
- ประเมินอาจารย์
อาจารย์เตรียมการสอนมากดีมาก และมีกิจกรรมให้นักศึกษาได้ทำซึ่งเป็นกิจกรรมที่บูรณาการวิทยาศาสตร์ อาจารย์ได้ให้นักศึกษาได้ลงมือทำด้วยตนเอง เพื่อที่จะให้เกิดทักษะ อาจารย์ก็จะให้คำแนะนำที่ดีในการทำกิจกรรม
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น