บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
ครูผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ
วันที่ 16 กันยายน 2557 ครั้งที่ 5 กลุ่ม103
เวลา 8:30-12:30 น.
- การเรียนในวันนี้
อาจารย์เริ่มเข้าบทเรียนด้วยการเปิดเพลงให้นักศึกษาฟัง แต่นักศึกษาไม่ได้ตั้งใจฟังจะคุยกันเป็นส่วนมาก อาจเป็นเพราะขัดข้องเกี่ยวกับลำโพงที่เปิดไม่ค่อยได้ยินจึงทำให้นักศึกษาไม่ค่อยสนใจ
แต่เมื่อเพลงจบ อาจารย์พูดให้นักศึกษาฟัง ถึงคำว่า "กาลเทศะ" คือ "กาล" แปลว่า "เวลา" ส่วน "เทศะ" แปลว่า "สถานที่"
อาจารย์ได้พูดถึงปัญหาที่เกิดความวุ่นวายขึ้นมาเพื่อเป็นกรณีศึกษา และได้ให้นักศึกษาตอบว่าขณะที่ฟังเพลงได้มีปัญหาอะไรเกิดขึ้นบ้าง นักศึกษาก็ได้ช่วยกันตอบ ดังนี้ เกิดความวุ่นวาย,ได้ยินแต่เสียงเพื่อนคุยกัน,ฟังเพลงไม่รู้เรื่อง ค่ะ
จากปัญหาที่กล่าวมาทั้งหมดอาจารย์ได้สรุปว่า การที่เราจะรับรู้ได้ดีนั้น ควรมีเครื่องมือ(Tools) ในการที่จะรับรู้ นั้นก็คือ "ประสาทสำผัสทั้ง 5(The five senses)'
บทความที่เพื่อนนำเสนอ
1. เรื่อง "สอนลูกเรื่องปรากฏการณ์ทางธรรมชาติสำคัญอยางไร?" ผู้นำเสนอ Miss Preeyannuch chontap
สรุป : เด็กได้รู้ทักษะการสังเกต ทักษะการเปรียบเทียบ ทักษะการปฏิบัติ
2. เรื่อง "วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย" ผู้นำเสนอ Miss Piyada pongpan
สรุป : เด็กสามารถสังเกตธรรมบนท้องฟ้า ดิน( Earth),หิน(Stone),อากาส(Weather),ท้องฟ้า(Sky)
และเด็กๆได้ใช้ทักษะ ดังนี้ -การสังเกต -การจำแนก -การเรียงลำดับ -การวัด -การคาดคะเน
สรุป เรื่อง"ความลับของแสง" ดังนี้
แต่เมื่อเพลงจบ อาจารย์พูดให้นักศึกษาฟัง ถึงคำว่า "กาลเทศะ" คือ "กาล" แปลว่า "เวลา" ส่วน "เทศะ" แปลว่า "สถานที่"
อาจารย์ได้พูดถึงปัญหาที่เกิดความวุ่นวายขึ้นมาเพื่อเป็นกรณีศึกษา และได้ให้นักศึกษาตอบว่าขณะที่ฟังเพลงได้มีปัญหาอะไรเกิดขึ้นบ้าง นักศึกษาก็ได้ช่วยกันตอบ ดังนี้ เกิดความวุ่นวาย,ได้ยินแต่เสียงเพื่อนคุยกัน,ฟังเพลงไม่รู้เรื่อง ค่ะ
จากปัญหาที่กล่าวมาทั้งหมดอาจารย์ได้สรุปว่า การที่เราจะรับรู้ได้ดีนั้น ควรมีเครื่องมือ(Tools) ในการที่จะรับรู้ นั้นก็คือ "ประสาทสำผัสทั้ง 5(The five senses)'
บทความที่เพื่อนนำเสนอ
1. เรื่อง "สอนลูกเรื่องปรากฏการณ์ทางธรรมชาติสำคัญอยางไร?" ผู้นำเสนอ Miss Preeyannuch chontap
สรุป : เด็กได้รู้ทักษะการสังเกต ทักษะการเปรียบเทียบ ทักษะการปฏิบัติ
2. เรื่อง "วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย" ผู้นำเสนอ Miss Piyada pongpan
สรุป : เด็กสามารถสังเกตธรรมบนท้องฟ้า ดิน( Earth),หิน(Stone),อากาส(Weather),ท้องฟ้า(Sky)
และเด็กๆได้ใช้ทักษะ ดังนี้ -การสังเกต -การจำแนก -การเรียงลำดับ -การวัด -การคาดคะเน
สรุป เรื่อง"ความลับของแสง" ดังนี้
- การนำไปประยุกต์ใช้
สิ่งที่ได้เรียนรู้ทั้งหมดในวันนี้สามารถนำไปปรับใช้ต่อไปในอนาคตได้เป็นอย่างดี ทั้งเรื่องที่อาจารย์สอนและบำความของๆเพื่อนๆ จากที่ได้ฟังสามารถนำไปบูรณาการในการสอนเด็กได้เป็นอย่างดี
- ประเมินตนเอง
ตกใจที่จะฟังเพลงที่อาจารย์เปิดแต่ไม่ค่อยได้ยินจึงไม่เข้าใจความหมายของเพลง และตั้งใจฟังพร้อมทั้งสรุปบทความที่เพื่อนออกมานำเสนอค่ะ
- ประเมินเพื่อน
เพื่อนหลายคนตั้งใจฟังอาจารย์สอนแต่ก็ยังมีเพื่อนบางส่วนที่คุยกัน แต่โดยรวมพื่อนๆทุกคนตั้งใจเรียนค่ะ
- ประเมินอาจารย์
วันนี้อาจารย์ยังสอนไม่ได้เต็มที่เนื่องจากติดภารกิจ แต่ก็ให้ความรู้กับนักศึกษาในบางเรื่อง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น