บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยครูผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญวันที่ 26 สิงหาคม 25587 ครั้งที่ 2 กลุ่ม 103 เวลาเรียน 8:30 - 12:20 น.
- การเรียนในวันนี้
อาจารย์ได้พูดเกี่ยวกับการทดลองวิทยาศาสตร์สำหรับเด็ก โดยมีรูปเด็กๆร่วมกันทำกิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ ดังนี้
- การตอกไข่ : เด็กได้สัมผัส การได้กลิ่น ฝึกการสังเกตุ การทดลอง
- ประสาทสัมผัส : ตาดู หูฟัง ลิ้นชิมรส กายประสาทสัมผัส จมูกสูทดม
- การเล่นในมุม : เด็กจะได้ทักษะต่างๆของแต่ละมุม
- การปลูกพืช : พืชบางชนิดต้องดารน้ำและพืชบางชนิดไม่ต้องการน้ำ เป็นการฝึกประสบการณ์ให้แก่เด็ก
*เด็กปฐมวัย & การรียนรู้วิทยาศาสตร์ ด้วยคำถามที่ว่า....
วิทยาศาสตร์เป็นยาขมสำหรับเด็กๆ จริงหรือ?
- ไม่จริง เพราะ วิทยาศาสตร์มีอยู่รอบตัวเด็ก พร้อมทั้งเปิดโอกาศให้เด็กอยากรู้อยากลอง และสนุกในการทำกิจกรรม
ถ้าเด็กๆเรียนวิทยาศาสตร์ตั้งแต่ชั้นอนุบาลจะยากเกินไปไหม?
- ไม่ยาก แต่อย่าเอาการคำนวณเข้ามาเยอะ ให้เด็กได้เรียนรู้ประสบการณ์เรื่องนั้นๆ
ควรให้เด็ก อนุบาลเรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่างไร?
- ควรให้เด็กได้ลองทำด้วยตัวเอง
*วิทยาศาสตร์
- คือความพยายยามของมนุษย์ที่จะเรียนรู้และทำความเข้าใจกับสิ่งรอบตัว และตัวตนของตนเอง
- ความพยายาม เช่นนี้ ติดตัวของมนุษย์ตั้งแต่เกิด ซึ่งสะท้อนให้เห็นจากธรรมชาติของเด็กที่มีความอยากรู้อยากเห็นช่างสังเกตและคอยซักถามเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ ที่พวกเข้าเจอ และบางครั้งก็เป็นคำถามที่ยากเกินกว่าทีผู้ใหญ่จะให้คำตอบ
- การทำความเข้าใจกับสิ่งรอบตัวและตัวตนของตนเอง โดยการสังเกตและคอยซักถามเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ ที่พวกเข้าเจอ ช่วยเชื่อมโยงเซลล์สมองของเด็กดดยเฉพาะเด็กเล็ก เพราะส่งเสริมให้เด็กได้คิด เป็นการเตรียมเด็กให้สามารถเรียนรู้ได้มากในวัยที่สูงขึ้น
ทำไม? ต้องเรียนรู้เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม : เพื่อเอาตัวรอดให้อยู่บนโลกได้ "เรียนรู้ ปรับตัว ปรับพฤติกรรม"
*ถ้าผู้ใหญ่ไม่เข้าใจในธรรมชาติของเด็ก
ปิดกั้นโอกาสทางการเรียนรู้ของพวกเขาโดยการไม่ให้ความสนใจกับคำถาม
- ผู้ใหญ่เปิดโอกาสการเรียนรู้กับเด็ก
ไม่ให้ความสนใจกับการค้นพบแบบเด็กๆ
- ผู้ใหญ่ให้ความสนใจการค้นพบของเด็ก เข้าใจธรรมชาติ
ไม่จัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่จะส่งเสริมและต่อยอดทักษะและแนวคิดที่ถูกต้องให้กับเด็กอย่่างเหมาะสม
- จัด เพราะการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่จะส่งเสริมต่อยอดทักษะได้ถูกอย่างต้อง
*ทบทวนบทบาท
- เปิดโอกาสทางการเรียนรู้ของพวกเขาโดยการให้ความสนใจกับคำถาม
- ให้ความสนใจกับการค้นพบแบบเด็กๆ
- จัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่ส่งเสริมและต่อยอดทักษะแนวคิดที่ถูกต้องให้กับเด็กอย่างเหมาะสม
- ครูและผู้ปกครองต้องยอมรับในเรื่องจินตนาการที่มีอยู่สูงในเด็กวัยนี้
- การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้
- ความรู้เพิ่มเติม
- วิทยาศาสตร์เกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน
- วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษา เป็นเครื่องมือที่สำคัญในการเรียนรู้ต่างๆ
- เด็กปฐมวัย/ทำไมต้องให้เด็กเรียนรู้สิ่งที่อยู่ใกล้ตัว ; สิ่งที่ใกล้ตัว เด็กสนใจ
- วิทยาศาสตร์ทำให้เด็กอยากรู้อยากลองจึงทำให้เด็กเกิดความสนุก
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น